Defence Technology Institute Repository >
โครงการพัฒนาบุคลากร (K41-TAC) >
ทุนพัฒนาบุคลากรปี 2560 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/4637
|
Title: | โครงการวิจัยเรื่อง การจำลองสายอากาศเรดาร์ด้วยแบบจำลอง ทางคณิตศาสตร์เพื่อหาประสิทธิภาพและการคลุมพื้นที่ของสัญญาณเรดาร์ |
Authors: | เทียนสิริ, เหลืองวิไล |
Keywords: | ทุนวิจัย 2560 ทุน สทป. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า สายอากาศสัญญาณเรดาร์ เรดาร์ Radar แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ เทียนสิริ เหลืองวิไล K41-00033 |
Issue Date: | 18-Oct-2023 |
Publisher: | สถาบันเทคโนโลยีป้องกันประเทศ |
Abstract: | จุดประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการศึกษาพฤติกรรมของพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าที่ปล่อยออกมาจากสายอากาศสัญญาณเรดาร์แต่ละชนิด โดยกระบวนการวิจัยนั้นจะดำเนินการพัฒนาสมการคณิตศาสตร์เพื่อการจำลองพฤติกรรมของพลังงานที่ปล่อยออกมาจากสายอากาศสัญญาณเรดาร์แต่ละชนิด จากนั้นเมื่อได้พฤติกรรมการแผ่กระจายพลังงานและรูปแบบการแผ่กระจายพลังงานจากการจำลองทางคณิตศาสตร์แล้ว ผลที่ได้จะถูกนำไปดำเนินการตรวจสอบความถูกต้องโดยการเปรียบเทียบกับผลที่ได้จากสามกระบวนการคือ 1) ผลจากการจำลองที่ได้จากโปรแกรมจำลองการทำงานของสายอากาศสัญญาณเรดาร์ที่มีขายอยู่ ณ ปัจจุบัน 2)
การตรวจสอบความถูกต้องกับการทดลองจริงที่ศูนย์การทหารปืนใหญ่ จ. ลพบุรีและ 3) ผลที่ได้จากการจำลองทางคณิตศาสตร์โดยใช้วิธีFinite Difference Method เมื่อรูปแบบการแผ่พลังงานที่ออกจากสายอากาศสัญญาเรดาร์และพฤติกรรมต่างๆ เป็นที่น่าเชื่อถือแล้ว ผลลัพธ์ที่ได้จำถูกดำเนินการแสดงผลลงบนแผ่นที่ DEM เพื่อใช้ในการศึกษาและพัฒนาต่อยอดต่อไป The objective of this research is to study behaviours of electromagnetic power which radiated from different types of radar antennas. To achieve that, mathematical modelling is developed base on physical properties of each antenna types. Then radiation patterns from each radar antenna types are obtained from the simulations of mathematical models. The results are verified againstvariousmethods; 1) simulation from commercial software packages, 2) measurement fromfield experiments and 3) mathematical simulation using Finite Difference
Method. After that antennas’ parameters are varied to study their properties and behaviours. Once properties and behaviours of each antenna types are clearly understood. Their coverage is displayed and integrated on digital elevated map (DEM). |
Description: | ทุนอุดหนุนโครงการวิจัย |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/4637 |
Appears in Collections: | ทุนพัฒนาบุคลากรปี 2560
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|